วันจันทร์ที่ 7 กันยายน พ.ศ. 2552

Week 10 : Chapter 6 Network and Transport Layers

Introduction - Transport layer
Responsible for segmentation and reassembly
Transport Layer
แบ่งเป็นโพรโตคอล 2 ชนิดตามลักษณะ ลักษณะแรกเรียกว่า Transmission Control Protocol (TCP) กำหนดช่วงการสื่อสารตลอดระยะเวลาการสื่อสาร (connection-oriented) มีการส่งข้อมูลเป็นแบบ Byte stream ข้อมูลถูกแบ่งเป็นส่วนๆ เรียกว่า Message ซึ่งจะถูกส่งไปยังผู้รับ นำมาเรียงต่อกันเป็นลำดับ
โปรโตคอลการนำส่งข้อมูลแบบที่สองเรียกว่า UDP (User Datagram Protocol) เป็นการติดต่อแบบไม่ต่อเนื่อง (connectionless) วิธีการนี้มีข้อดีในด้านความรวดเร็วในการส่งข้อมูล จึงนิยมใช้ในระบบผู้ให้และผู้ใช้บริการ (client/server system) ซึ่งมีการสื่อสารแบบ ถาม/ตอบ (request/reply) นอกจากนั้นยังใช้ในการส่งข้อมูลประเภทภาพเคลื่อนไหวหรือการส่งเสียง (voice) ทางอินเทอร์เน็ต
Transport services and protocols
-หน้าที่ของ transport layer คือ เป็นการสื่อสารระหว่าง application process ที่รันอยู่บน end host คนละตัว

Internet transport-layer protocols
-TCP
-เชื่อถือได้ , เรียงลำดับข้อมูล
-congestion control , flow control , ทำการ connection setup
-UDP
-ไม่เรียงลำดับ , เชื่อถือได้ไม่ 100%
-best effort
-ไม่รับรอง ความเร็ว ช่องสัญญาณ

Network layer
Network Layer เป็นชั้นที่ว่าด้วยการแยกแยะความแตกต่างของคอมพิวเตอร์แต่ละตัวในเครือข่าย โดยอาศัยโดยอาศัยหมายเลขประจำเครื่องหรือ Address และยังกำหนดเส้นทางในการวิ่งของข้อมูลในเครือข่ายจากต้นทางถึงปลายทาง ข้อมูลในชั้นนี้จะเรียกว่า “แพ็กเก็ต” (Packet)

Transport vs. network layer
-network layer ทำหน้าที่ สื่อสารระหว่าง host
-transport layer ทำหน้าที่ สื่อสารระหว่าง process

TCP/IP: Transmission Control Protocol/Internet Protocol ใช้ในอินเตอร์เนต
IPX/SPX: Internet Packet Exchange/Sequenced Packet Exchange
X.25: X.25 เป็นกลุ่มของโปรโตคอลใช้ในเครือข่ายแบบ packet switching
SNA(System Network Architecture) คือ สถาปัตยกรรมการเชื่อมต่อข้อมูลที่ใช้ในระบบ Mainframe ของ IBM พัฒนาขึ้นมาในปี 1974 โดยใช้มาตรฐานการส่งแบบ SDLC(Synchronous Data Link Control) ผ่านโปรโตคอลแบบ APPC(Advanced Program to Program Communication,โปรโตคอลภายใน SNA ที่สร้างสภาวะให้โปรแกรมสามารถทำงานข้ามเครือข่ายได้)

TCP Connection management
เนื่องจาก TCP เป็นโปรโตคอลแบบ Connection-oriented จึงจำเป็นต้องมีการสร้างการเชื่อมต่อ
ก่อนเริ่มส่งข้อมูล โดย Client จะร้องขอสร้างการเชื่อมต่อไปยัง Server ก่อน และเมื่อ Server ตอบรับจึงจะเริ่ม
มีการส่งข้อมูล
TCP จะอาศัยกลไก Three-way handshake ในการสร้างการเชื่อมต่อซึ่งจะมี flag ที่เกี่ยวข้อคือ
SYN flag และระหว่างขั้นตอนนี้เองที่จะมีการกำหนดค่าเริ่มต้นในการเชื่อมต่อต่างๆได้แก่ sequence number,
MSS, window size ในส่วนของการตัดการเชื่อมต่อ TCP จะอาศัยการส่งข้อมูล 3-4 segment ซึ่งจะมี flag ที่
เกี่ยวข้องคือ FIN flag
User Datagram Protocol (UDP) เป็นโปรโตคอลหลักในชุดโปรโตคอลอินเทอร์เน็ต การส่งข้อมูลผ่าน UDP นั้น คอมพิวเตอร์จะส่งข้อมูลขนาดเล็กที่เรียกว่า เดต้าแกรม (datagram) ผ่านเครือข่ายไปยังเครื่องปลายทาง โดย UDP จะไม่รับประกันความน่าเชื่อถือและลำดับของเดต้าแกรม อย่างที่ TCP รับประกัน ซึ่งหมายความว่าเดต้าแกรมอาจมาถึงไม่เรียงลำดับ หรือสูญหายระหว่างทางได้
แอปพลิเคชันที่ใช้ UDP เป็นฐานในการส่งข้อมูลคือ Domain Name System (DNS), Streaming media, Voice over IP และเกมออนไลน์
Quality-of-Service (QoS)
QoS เป็นตัวที่แสดงถึงประสิทธิภาพของการติดต่อสื่อสารระหว่างผู้ส่งและผู้รับ โดยจะเป็นตัวควบคุมและกำหนดคุณภาพการไหลของข้อมูลให้เป็นไปตามเงื่อนไขที่ ต้องการ คุณสมบัติที่ควรคำนึงถึงในการไหลของข้อมูลผ่านเครือข่ายที่เป็นจะตัวกำหนด ประสิทธิภาพการติดต่อสื่อสารนั้น
Asynchronous Transfer Mode หรือ ชื่อย่อ ATM เป็นเครือข่ายสื่อสาร ที่ใช้โพรโทคอลชื่อเดียวกันคือ ATM เป็นมาตรฐานการส่งข้อมูลความเร็วสูง โดย ATM ถูกพัฒนามาเพื่อให้ใช้กับงานที่มีลักษณะ ข้อมูลหลายรูปแบบและต้องการความเร็วในการส่งข้อมูลสูงมากๆ
Protocols Supporting QoS
TCP/IP protocol suite
• Resource Reservation Protocol (RTSP)
• Real-Time Streaming Protocol (RTSP)
• Real-Time Tranport Protocol(RTP)

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น